Share to: share facebook share twitter share wa share telegram print page

 

ขบวนรถชานเมือง (การรถไฟแห่งประเทศไทย)

ขบวนรถชานเมือง
ป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ให้บริการขบวนรถชานเมืองในสายตะวันออก
ป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ให้บริการขบวนรถชานเมืองในสายตะวันออก
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ที่ตั้งไทย กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประเทศไทย
ประเภทรถไฟชานเมือง
จำนวนสาย4
การให้บริการ
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง703.57 กิโลเมตร
รางกว้าง1,000 mm (3 ft 3 38 in)
การจ่ายไฟฟ้าปัจจุบัน: ใช้รถดีเซลรางหรือรถจักรลากจูง
อนาคต: 25 kV AC จ่ายไฟเหนือหัว
ความเร็วสูงสุด100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ขบวนรถชานเมือง เป็นขบวนรถประเภทหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการในสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ และสายตะวันออก โดยถือเป็นระบบรถไฟชานเมืองในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีโดยรอบไม่เกิน 150 กิโลเมตร[ต้องการอ้างอิง] ขบวนรถชานเมืองจะจอดทุกสถานีและป้ายหยุดรถ รหัสเลขขบวนรถเป็นเลขสามหลัก ขึ้นต้นด้วยเลข 3 และ 4 และใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟทางไกลและรถไฟสินค้า ทางส่วนใหญ่เป็นทางคู่

เส้นทางที่ให้บริการ

เส้นทางที่ให้บริการ สถานีปลายทาง ระยะทาง ขนาดความกว้างรางรถไฟ จำนวนเที่ยวรถ (ไป-กลับ)
สายเหนือ กรุงเทพลพบุรี 132.81 กิโลเมตร 1,000 mm (3 ft 3 38 in) 14 ขบวน
สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ-ชุมทางแก่งคอย 125.10 กิโลเมตร 6 ขบวน
สายตะวันออก กรุงเทพชุมทางฉะเชิงเทรา 121.78 กิโลเมตร 18 ขบวน
สายใต้ ธนบุรีนครปฐม–ธนบุรี 101.31 กิโลเมตร 12 ขบวน
กรุงเทพสุพรรณบุรี

ราชบุรี-ธนบุรี-ราชบุรี

ประจวบคีรีขันธ์-

ธนบุรี-ประจวบคีรีขันธ์

หลังสวน-ธนบุรี

หลังสวน

นำตก-ธนบุรี-นำตก

157.60 กิโลเมตร[1] 2 ขบวน
สายวงเวียนใหญ่ วงเวียนใหญ่-มหาชัย 33.1 กิโลเมตร 34 ขบวน
สายบ้านแหลม-แม่กลอง บ้านแหลม-แม่กลอง 33.8 กิโลเมตร 8 ขบวน

ขบวนรถที่ให้บริการในปัจจุบัน

สายเหนือ

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
301/302 กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 302
303/304 กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ รถดีเซลราง ทุกวัน 304
311 กรุงเทพ–รังสิต- กรุงเทพ รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 376 (รังสิต–หัวตะเข้ ผ่านสามเหลี่ยมจิตรลดา)
313/314 กรุงเทพ–ชุมทางบ้านภาชี รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 314
317/318 กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 318

สายตะวันออกเฉียงเหนือ

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
339/340 กรุงเทพ–ชุมทางแก่งคอย-กรุงเทพ รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 340
341/342 รถจักรลากจูง + รถนั่งบชส. (ชั้น 3) ทุกวัน 342

สายตะวันออก

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
367/368 กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 368
371/372 กรุงเทพ–ปราจีนบุรี-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3

ขบวนนี้มีรถปรับอากาศชั้น3 (บชส.ป) || 372

376 รังสิต–หัวตะเข้-รังสิต รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 378
379/384 กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 384
383/380 รถดีเซลราง 380
389/390 รถดีเซลราง


ขบวนนี้มีรถปรับอากาศ (กซม.ป ATR)

390
391/388 รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 388

สายใต้

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
351/352 ธนบุรี–ราชบุรี-ธนบุรี รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 352
355/356 กรุงเทพ–สุพรรณบุรี-กรุงเทพ รถดีเซลราง 356
1115/1116 ธนบุรี–นครปฐม-ธนบุรี รถดีเซลราง 1116
1117/1118 1118
1123/1124 1124
1129/1132 1132
251/252 ธนบุรี-ประจวบคีรีขันธ์-ธนบุรี รถจักรลากจูงรถบสช. ชั้น3 252
255/254 ธนบุรี-หลังสวน-ธนบุรี รถจักรลากจูงรถบสช. ชั้น3

สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย/บ้านแหลม-แม่กลอง

สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย
รหัส

ขบวนรถ

สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ
4302/4303 มหาชัย-วงเวียนใหญ่-มหาชัย รถดีเซลราง ทุกวัน
4310/4311
4320/4321
4340/4341 (ป.)
4304/4305
4312/4313
4322/4223 (ป.)
4342/4343
4314/4315
4324/4325 (ป.)
4316/4317
4306/4307
4326/4327 (ป.)
4344/4345
4308/4309
4328/4329 (ป.)
4346/4347
หมายเหตุ: (ป.) คือ ขบวนนั้นมีตู้ปรับอากาศ
สายบ้านแหลม-แม่กลอง
รหัส

ขบวนรถ

สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ
4380/4381 แม่กลอง-บ้านแหลม-แม่กลอง รถดีเซลราง ทุกวัน
4382/4383
4384/4385
4386/4387

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. นับจากสถานีกรุงเทพ ให้บวกเพิ่มอีก 16

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya