ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ
|
รหัสสถานี
|
ระยะทางจาก กท.
|
ชั้นสถานี [1]
|
ที่ตั้ง
|
หมายเหตุ
|
เลข
|
ตัวย่อ
|
ตำบล
|
อำเภอ
|
จังหวัด
|
ชุมทางบ้านภาชี – เชียงใหม่
|
ชุมทางบ้านภาชี
|
1036
|
ภช.
|
89.95 กม.
|
1
|
ภาชี
|
ภาชี
|
พระนครศรีอยุธยา
|
|
ดอนหญ้านาง
|
1224
|
ญา.
|
93.58 กม.
|
ป้ายหยุดรถ
|
ดอนหญ้านาง
|
|
หนองวิวัฒน์
|
1037
|
วิ.
|
96.44 กม.
|
4
|
หนองขนาก
|
ท่าเรือ
|
|
บ้านปลักแรด
|
1038
|
แด.
|
99.16 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
ท่าเจ้าสนุก
|
|
ท่าเรือ
|
1039
|
ทร.
|
102.73 กม.
|
2
|
ท่าเรือ
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางท่าเรือ (นตท.ทร.)
|
บ้านหมอ
|
1041
|
มอ.
|
108.78 กม.
|
2
|
บ้านหมอ
|
บ้านหมอ
|
สระบุรี
|
|
หนองโดน
|
1045
|
โด.
|
116.56 กม.
|
3
|
หนองโดน
|
หนองโดน
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางหนองโดน (นตท.โด.)
|
บ้านกลับ
|
1047
|
บก.
|
122.727 กม.
|
4
|
บ้านกลับ
|
จุดเริ่มต้นโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี-ปากน้ำโพ สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ – โคกกะเทียม โดยเป็นทางวิ่งยกระดับความยาว 19 กม. วิ่งไปบนแนวเส้นทางถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี (ทล.366) จากนั้นเส้นทางจะกลับสู่แนวเส้นทางเดิมที่สถานีโคกกะเทียม
|
บ้านป่าหวาย
|
1048
|
ปว.
|
127.44 กม.
|
4
|
ป่าตาล
|
เมืองลพบุรี
|
ลพบุรี
|
|
ลพบุรี
|
1050
|
ลบ.
|
132.81 กม.
|
1
|
ท่าหิน
|
สุดเขตทางคู่ช่วงบ้านกลับ - ลพบุรี เริ่มทางเดี่ยวช่วงลพบุรี - ท่าแค และเป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือที่ใช้สัญญาณไฟสีชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ ต่อจากนี้จะใช้ไฟสีชนิดบังคับด้วยแผงสวิตช์
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางลพบุรี (นตท.ลบ.)
|
ท่าแค
|
1051
|
ทแ.
|
137.475
กม.
|
4
|
ท่าแค
|
ตำบลท่าแคและตำบลถนนใหญ่ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3015 เป็นเส้นแบ่งเขตตำบล อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านเหนือ เป็นเขตตำบลท่าแค[2] อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านใต้ เป็นเขตตำบลถนนใหญ่[3]
- จุดเริ่มต้นโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 2 ช่วงท่าแค – ปากน้ำโพ
|
ถนนใหญ่
|
โคกกะเทียม
|
1053
|
คท.
|
144.250 กม.
|
4
|
โคกกะเทียม
|
จุดสิ้นสุดโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ – โคกกะเทียม
|
หนองเต่า
|
1055
|
นต.
|
150.040 กม.
|
4
|
หนองเต่า
|
บ้านหมี่
|
|
หนองทรายขาว
|
1056
|
ซข.
|
154.901 กม.
|
4
|
หนองทรายขาว
|
|
บ้านหมี่
|
1058
|
บม.
|
161.191 กม.
|
2
|
บ้านหมี่
|
|
ห้วยแก้ว
|
1059
|
หก.
|
165.896 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
เชียงงา
|
ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลเชียงงา[6] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือ แบ่งเขตกับตำบลสายห้วยแก้ว โดยพื้นที่บริเวณรางหลีกอยู่ในเขตตำบลสายห้วยแก้ว
ยกเลิกสถานีรถไฟห้วยแก้ว กม.ที่ 165.940 และให้เปิดใช้ที่หยุดรถห้วยแก้ว กม. 165.896 แทน ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 6.00 น. เป็นต้นไป และยกเลิกการขอและให้ทางสะดวกระหว่างสถานีบ้านหมี่-ห้วยแก้ว-จันเสน
|
ไผ่ใหญ่
|
1060
|
ผญ.
|
170.281 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
ไผ่ใหญ่
|
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519 [7]
|
โรงเรียนจันเสน
|
1229
|
รจ.
|
172.90 กม.
|
ป้ายหยุดรถ
|
จันเสน
|
ตาคลี
|
นครสวรรค์
|
|
จันเสน
|
1061
|
จส.
|
173.780 กม.
|
3
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางจันเสน (นตท.จส.)
|
บ้านกกกว้าว
|
1062
|
ว้.
|
176.63 กม.
|
ป้ายหยุดรถ
|
พรหมนิมิต
|
|
ช่องแค
|
1063
|
ชค.
|
180.158 กม.
|
3
|
ช่องแค
|
|
ทะเลหว้า
|
1065
|
ทห.
|
187.37 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
ตาคลี
|
ในอนาคตเมื่อเส้นทางรถไฟทางคู่แล้วเสร็จ จะถูกยกเลิกใช้งาน
|
โพนทอง
|
1066
|
โพ.
|
188.622 กม.
|
3
|
|
บ้านตาคลี
|
1067
|
ตล.
|
192.472 กม.
|
2
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางบ้านตาคลี (นตท.ตล.)
|
ดงมะกุ
|
1069
|
ดง.
|
198.777 กม.
|
4
|
|
หัวหวาย
|
1070
|
หว.
|
204.132 กม.
|
4
|
หัวหวาย
|
|
หนองโพ
|
1072
|
นพ.
|
211.618 กม.
|
3
|
หนองโพ
|
|
หัวงิ้ว
|
1074
|
หง.
|
217.291 กม.
|
4
|
เนินมะกอก
|
พยุหะคีรี
|
|
เนินมะกอก
|
1076
|
มก.
|
224.867 กม.
|
3
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางเนินมะกอก (นตท.มก.)
|
เขาทอง
|
1079
|
ขท.
|
235.544 กม.
|
4
|
เขาทอง
|
|
นครสวรรค์
|
1082
|
นว.
|
245.968 กม.
|
1
|
หนองปลิง
|
เมืองนครสวรรค์
|
- ฝ่ายการเดินรถ
- งานควบคุมการเดินรถเขตนครสวรรค์ (ผคร.นว.)
- สารวัตรงานเดินรถแขวงนครสวรรค์ (สดร.นว.)
- ฝ่ายการช่างกล
- ที่ทำการพนักงานตรวจรถนครสวรรค์ (พตร.นว.)
- ฝ่ายการช่างโยธา
- วิศวกรกำกับการกองบำรุงทางเขตนครสวรรค์ (วบข.นว.)
- สารวัตรแขวงบำรุงทางนครสวรรค์ (สบท.นว.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- สารวัตรแขวงบำรุงรักษาอาณัติสัญญาณนครสวรรค์ (สสญ.นว.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการนายแพทย์เขตนครสวรรค์ (นพข.นว.)
|
ปากน้ำโพ
|
1083
|
ปพ.
|
250.617 กม.
|
2
|
ปากน้ำโพ
|
- ฝ่ายการช่างกล
- สารวัตรแขวงรถพ่วงปากน้ำโพ (สรพ.ปพ.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการนายแพทย์เขตปากน้ำโพ (นพข.ปพ.)
- มีทางแยกเข้าท่าข้าวกำนันทรง
- จุดสิ้นสุดโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 2 ช่วงท่าแค-ปากน้ำโพ
- ในอนาคตจะเป็นจุดเริ่มต้นโครงการรถไฟทางคู่เฟส 2 ช่วงปากน้ำโพ – เด่นชัย
|
บึงบอระเพ็ด
|
1226
|
เพ.
|
257.15 กม.
|
4
|
เกรียงไกร
|
เป็นสถานีที่ตั้งขึ้นใหม่ในวันที่ 9 ตุลาคม 2532 [8] มีชื่อตาม บึงบอระเพ็ดที่อยู่ใกล้เคียง
|
ทับกฤช
|
1084
|
ทก.
|
263.68 กม.
|
3
|
ทับกฤช
|
ชุมแสง
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางทับกฤช (นตท.ทก.)
|
คลองปลากด
|
1086
|
ปก.
|
270.87 กม.
|
3
|
|
ชุมแสง
|
1088
|
ชส.
|
280.29 กม.
|
2
|
ชุมแสง
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางชุมแสง (นตท.ชส.)
|
วังกร่าง
|
1091
|
กา.
|
290.24 กม.
|
4
|
เนินมะกอก
|
บางมูลนาก
|
พิจิตร
|
|
บางมูลนาก
|
1093
|
นา.
|
297.03 กม.
|
2
|
บางมูลนาก
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางบางมูลนาก (นตท.นา.)
|
หอไกร
|
1095
|
ไก.
|
303.50 กม.
|
4
|
หอไกร
|
|
ดงตะขบ
|
1097
|
ดข.
|
309.87 กม.
|
4
|
บางไผ่
|
|
ตะพานหิน
|
1099
|
ตห.
|
319.00 กม.
|
2
|
ตะพานหิน
|
ตะพานหิน
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- สารวัตรงานเครื่องกลบำรุงทางหนักตะพานหิน (สกน.ตห.)
- สารวัตรแขวงบำรุงทางตะพานหิน (สบท.ตห.)
- ที่ทำการนายตรวจทางตะพานหิน (นตท.ตห.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายตะพานหิน (นตส.ตห.)
|
ห้วยเกตุ
|
1101
|
ยต.
|
324.91 กม.
|
4
|
งิ้วราย
|
|
หัวดง
|
1103
|
หด.
|
332.60 กม.
|
3
|
หัวดง
|
เมืองพิจิตร
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางหัวดง (นตท.หด.)
|
วังกรด
|
1105
|
วร.
|
339.36 กม.
|
3
|
บ้านบุ่ง
|
|
พิจิตร
|
1107
|
พจ.
|
346.79 กม.
|
1
|
ในเมือง
|
|
ท่าฬ่อ
|
1109
|
ทฬ.
|
354.26 กม.
|
3
|
ท่าฬ่อ
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางท่าฬ่อ (นตท.ทฬ.)
|
บางกระทุ่ม
|
1111
|
ทม.
|
362.22 กม.
|
2
|
บางกระทุ่ม
|
บางกระทุ่ม
|
พิษณุโลก
|
|
แม่เทียบ
|
1112
|
แท.
|
366.21 กม.
|
4
|
|
บ้านใหม่
|
1114
|
บห.
|
375.31 กม.
|
3
|
วัดพริก
|
เมืองพิษณุโลก
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางบ้านใหม่ (นตท.บห.)
|
บึงพระ
|
1116
|
บะ.
|
381.87 กม.
|
2
|
บึงพระ
|
เป็นต้นทางสำหรับรถบรรทุกน้ำมันจากแหล่งสิริกิติ์เพื่อส่งไปที่โรงกลั่นน้ำมันบางจาก
|
พิษณุโลก
|
1118
|
พล.
|
389.28 กม.
|
1
|
ในเมือง
|
- เป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือที่ใช้ประแจกลไฟฟ้าชนิดตู้ควบคุมพร้อมเครื่องทางสะดวก (รีเลย์)
- ฝ่ายการช่างกล
- ที่ทำการพนักงานตรวจรถพิษณุโลก (พตร.พล.)
- ฝ่ายการช่างโยธา
- สารวัตรแขวงบำรุงทางพิษณุโลก (สบท.พล.)
- ที่ทำการนายตรวจทางพิษณุโลก (นตท.พล.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายพิษณุโลก (นตส.พล.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการพยาบาลพิษณุโลก (พยบ.พล.)
- อาณาบาลเขตพิษณุโลก (ณบข.พล.)
|
บ้านเต็งหนาม
|
1119
|
เห.
|
393.75 กม.
|
3
|
หัวรอ
|
เป็นสถานีแรกในเส้นทางสายเหนือที่ใช้ประแจกลสายลวด-สัญญาณหางปลา
|
บ้านตูม
|
1121
|
ตม.
|
400.00 กม.
|
4
|
ปากโทก
|
|
แควน้อย
|
1122
|
คน.
|
405.31 กม.
|
4
|
หอกลอง
|
พรหมพิราม
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางแควน้อย (นตท.คน.)
|
พรหมพิราม
|
1125
|
พห.
|
414.50 กม.
|
3
|
พรหมพิราม
|
|
หนองตม
|
1127
|
หต.
|
423.20 กม.
|
3
|
วงฆ้อง
|
ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองตม ตำบลวงฆ้อง[9] ในเขตเทศบาลตำบลวงฆ้อง
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางหนองตม (นตท.หต.)
|
บ้านบุ่ง
|
1130
|
บง.
|
432.75 กม.
|
4
|
ศรีภิรมย์
|
|
บ้านโคน
|
1131
|
บค.
|
437.41 กม.
|
4
|
บ้านโคน
|
พิชัย
|
อุตรดิตถ์
|
|
พิชัย
|
1134
|
พย.
|
447.55 กม.
|
3
|
ในเมือง
|
|
ไร่อ้อย
|
1136
|
รอ.
|
453.98 กม.
|
4
|
ไร่อ้อย
|
มีทางแยกไปขนฟืนที่ ตำบลนายาง อำเภอพิชัย (ปัจจุบันเลิกใช้งาน)
|
ชุมทางบ้านดารา
|
1137
|
ดร.
|
458.31 กม.
|
3
|
บ้านดารา
|
- มีทางแยกไปสถานีสวรรคโลก
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางบ้านดารา (นตท.ดร.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายบ้านดารา (นตส.ดร.)
|
ท่าสัก
|
1144
|
าส.
|
461.80 กม.
|
3
|
ท่าสัก
|
|
ตรอน
|
1146
|
ตอ.
|
469.86 กม.
|
3
|
วังแดง
|
ตรอน
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางตรอน (นตท.ตอ.)
|
วังกะพี้
|
1148
|
วก.
|
476.82 กม.
|
4
|
วังกะพี้
|
เมืองอุตรดิตถ์
|
เคยมีทางแยกไปโรงงานน้ำตาลอุตรดิตถ์ (ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว)
|
อุตรดิตถ์
|
1150
|
อด.
|
485.17 กม.
|
1
|
ท่าอิฐ
|
- ฝ่ายการเดินรถ
- งานควบคุมการเดินรถเขตอุตรดิตถ์ (ผคร.อด.)
- สารวัตรงานเดินรถแขวงอุตรดิตถ์ (สดร.อด.)
- ฝ่ายการช่างกล
- วิศวกรกำกับการกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์ (วกข.อด.)
- สารวัตรแขวงรถจักรอุตรดิตถ์ (สรจ.อด.)
- สารวัตรแขวงโรงงานอุตรดิตถ์ (สรง.อด.)
- ที่ทำการพนักงานตรวจรถอุตรดิตถ์ (พตร.อด.)
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการหน่วยสะพานอุตรดิตถ์ (นสพ.อด.)
- สารวัตรแขวงบำรุงทางอุตรดิตถ์ (สบท.อด.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการพยาบาลอุตรดิตถ์ (พยบ.อด.)
|
ศิลาอาสน์
|
1151
|
ศล.
|
487.52 กม.
|
1
|
พื้นที่ทั้งสถานีตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์[10] โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล[11]
- เป็นย่านสับเปลี่ยนรถไฟ ย่านสินค้า จุดตัดตู้โบกี้รถไฟขึ้นสู่ภาคเหนือ ศูนย์รวบรวมตู้สินค้า(Container Yard) จุดสิ้นสุดสถานีรถไฟทางราบ และสถานีเริ่มต้นการส่งห่วงตราทางสะดวก
- จุดรับน้ำมันเชื้อเพลิงของขบวนรถ
- ฝ่ายการเดินรถ
- กองจัดการเดินรถเขต 3 (จดข.3) ศูนย์ภาคเหนือ
- ที่ทำการพนักงานการเดินรถ 10 (พ.การเดินรถ 10 ศิลาอาสน์)
- ฝ่ายการช่างโยธา
- วิศวกรอำนวยการศูนย์บำรุงทางสายเหนือ (วอน.)
- ศูนย์บำรุงทางภาคเหนือ
- ที่ทำการนายตรวจทางศิลาอาสน์ (นตท.ศล.)
- ฝ่ายการเดินรถ
- กองจัดการเดินรถเขต 3 (จดข.3) ศูนย์ภาคเหนือ
- ที่ทำการพนักงานการเดินรถ 10 (พ.การเดินรถ 10 ศิลาอาสน์)
- ฝ่ายการช่างโยธา
- วิศวกรอำนวยการศูนย์บำรุงทางสายเหนือ (วอน.)
- ศูนย์บำรุงทางภาคเหนือ
- ที่ทำการนายตรวจทางศิลาอาสน์ (นตท.ศล.)
- พนักงานสถานที่ศิลาอาสน์ (พสถ.ศล.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายศิลาอาสน์ (นตส.ศล.)
- ฝ่ายการพาณิชย์
- สารวัตรแขวงพาณิชย์ศิลาอาสน์ (สพณ.ศล.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการนายแพทย์เขตศิลาอาสน์ (นพข.ศล.)
- กองบังคับการตำรวจรถไฟ
- สถานีตำรวจรถไฟศิลาอาสน์ (สร.ฟ.ศิลาอาสน์)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายศิลาอาสน์ (นตส.ศล.)
- ฝ่ายการพาณิชย์
- สารวัตรแขวงพาณิชย์ศิลาอาสน์ (สพณ.ศล.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการนายแพทย์เขตศิลาอาสน์ (นพข.ศล.)
- กองบังคับการตำรวจรถไฟ
- สถานีตำรวจรถไฟศิลาอาสน์ (สร.ฟ.ศิลาอาสน์)
|
ท่าเสา
|
1152
|
เส.
|
489.35 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
พื้นที่ทั้งสถานี (เดิม) ตั้งอยู่ในเขต เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์[10] โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล [11] เคยเป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถแล้ว
|
บ้านด่าน
|
1154
|
บด.
|
497.56 กม.
|
4
|
บ้านด่านนาขาม
|
จุดเริ่มต้นสถานีรถไฟทางภูเขา
|
ปางต้นผึ้ง
|
1157
|
ปต.
|
509.36 กม.
|
4
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางปางต้นผึ้ง (นตท.ปต.)
|
- เข้าอุโมงค์ปางตูบขอบ ยาว 120.09 เมตร กม.ที่ 513.72-513.84
|
- เข้าอุโมงค์เขาพลึง ยาว 362.44 เมตร กม.ที่ 516.41-516.77
|
เขาพลึง
|
1159
|
ขง.
|
517.02 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
ห้วยไร่
|
เด่นชัย
|
แพร่
|
|
ห้วยไร่
|
1160
|
หา.
|
521.48 กม.
|
4
|
|
ไร่เกล็ดดาว
|
1161
|
รล.
|
525.30 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
|
แม่พวก
|
1162
|
มพ.
|
528.22 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
เดิมเป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถแล้ว
|
เด่นชัย
|
1164
|
ดช.
|
533.94 กม.
|
1
|
เด่นชัย
|
- สถานีประจำจังหวัดแพร่
- ฝ่ายการช่างโยธา
- สารวัตรแขวงบำรุงทางเด่นชัย (สบท.ดช.)
- ที่ทำการนายตรวจทางเด่นชัย (นตท.ดช.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายเด่นชัย (นตส.ดช.)
- อนาคตสถานีนี้จะยกระดับเป็นสถานีชุมทาง (ชท.เด่นชัย)
- จุดเริ่มต้นโครงการรถไฟทางคู่สายใหม่ เด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ ระยะทาง 323 กม. (ปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง)
|
ปากปาน
|
1165
|
ปา.
|
538.43 กม.
|
4
|
ไทรย้อย
|
|
แก่งหลวง
|
1167
|
กล.
|
546.94 กม.
|
3
|
แม่ปาน
|
ลอง
|
|
ห้วยแม่ต้า
|
1169
|
วต.
|
554.42 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
บ้านปิน
|
|
บ้านปิน
|
1172
|
บป.
|
563.86 กม.
|
2
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางบ้านปิน (นตท.บป.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- ที่ทำการนายตรวจสายบ้านปิน (นตส.บป.)
|
- เข้าอุโมงค์ห้วยแม่ลาน ยาว 130.20 เมตร กม.ที่ 574.04-574.17
|
ผาคัน
|
1176
|
ผน.
|
578.46 กม.
|
4
|
บ้านปิน
|
ลอง
|
แพร่
|
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางผาคัน (นตท.ผน.)
|
ผาคอ
|
1177
|
ผค.
|
581.22 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
เปิดเป็นสถานีในวันที่ 1 พฤษภาคม 2458 พร้อมกับการเปิดการเดินรถช่วงบ้านปิน – ผาคอ ระยะทาง 17 กิโลเมตร และยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2528 [12]
|
ปางป๋วย
|
1180
|
ปย.
|
591.07 กม.
|
4
|
สบป้าด
|
แม่เมาะ
|
ลำปาง
|
เข้าเขต จังหวัดลำปาง, เขตตำบลสบป้าดและตำบลนาสัก ใช้กึ่งกลางของ ทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านสบเติ๋น ตำบลสบป้าด [13][14] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านปางป๋วย ตำบลนาสัก
|
แม่จาง
|
1182
|
มจ.
|
600.33 กม.
|
4
|
กึ่งกลางของอาคารสถานีรถไฟแม่จางเป็นจุดแบ่งเขตของตำบลสบป้าด ตำบลแม่เมาะ และตำบลนาสัก[14] พื้นที่สถานีจึงอยู่ในพื้นที่ทั้ง 3 ตำบล ได้แก่ หมู่ 2 บ้านสบเติ๋น ตำบลสบป้าด[13] หมู่ 1 บ้านแม่จาง ตำบลนาสัก[15]และหมู่ 1 บ้านห้วยเป็ด ตำบลแม่เมาะ[16]
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางแม่จาง (นตท.มจ.)
|
|
นาสัก
|
แม่เมาะ
|
แม่เมาะ
|
1184
|
มม.
|
609.16 กม.
|
3
|
สบป้าด
|
เขตตำบลสบป้าดและตำบลแม่เมาะ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านสบเมาะ ตำบลสบป้าด[13][14] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านแม่เมาะสถานี ตำบลแม่เมาะ[16]
- ฝ่ายการช่างโยธา
- ที่ทำการนายตรวจทางแม่เมาะ (นตท.มม.)
|
ห้วยรากไม้
|
1185
|
รไ.
|
614.87 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
เขตตำบลสบป้าดและตำบลแม่เมาะ ใช้กึ่งกลางของ ทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านห้วยรากไม้ ตำบลสบป้าด [13][14]
|
ศาลาผาลาด
|
1187
|
ผล.
|
622.20 กม.
|
4
|
แม่ทะ
|
แม่ทะ
|
|
แม่ทะ
|
1189
|
มท.
|
628.45 กม.
|
3
|
|
หนองวัวเฒ่า
|
1192
|
วถ.
|
637.41 กม.
|
3
|
พระบาท
|
เมืองลำปาง
|
เขตตำบลพระบาทและตำบลชมพู อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของคลองส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่วังแบ่งเขต อาคารสถานีและทางหลีกทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านหนองวัวเฒ่า ตำบลพระบาท [18]
|
นครลำปาง
|
1193
|
ลป.
|
642.293 กม.
|
1
|
สบตุ๋ย
|
- ฝ่ายการเดินรถ
- ศูนย์ภาคเหนือ (ศอน.)
- งานควบคุมการเดินรถเขตลำปาง (ผคร.ลป.)
- สารวัตรงานเดินรถแขวงลำปาง (สดร.ลป.)
- ฝ่ายการช่างกล
- สารวัตรแขวงรถจักรลำปาง (สรจ.ลป.)
- นายตรวจกลลำปาง (นตก.ลป.)
- ที่ทำการพนักงานตรวจรถลำปาง (พตร.ลป.)
- ฝ่ายการช่างโยธา
- วิศวกรกำกับการกองบำรุงทางเขตลำปาง (วบข.ลป.)
- สารวัตรแขวงบำรุงทางลำปาง (สบท.ลป.)
- ที่ทำการนายตรวจทางลำปาง (นตท.ลป.)
- ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
- สารวัตรแขวงบำรุงรักษาอาณัติสัญญาณลำปาง (สสญ.ลป.)
- ที่ทำการนายตรวจสายลำปาง (นตส.ลป.)
- สำนักงานแพทย์รถไฟ
- ที่ทำการนายแพทย์เขตลำปาง (นพข.ลป.)
|
ห้างฉัตร
|
1196
|
หฉ.
|
654.859 กม.
|
3
|
ห้างฉัตร
|
ห้างฉัตร
|
|
ปางม่วง
|
1198
|
ปม.
|
660.984 กม.
|
4
|
|
ห้วยเรียน
|
1199
|
ยเ.
|
665.090 กม.
|
ที่หยุดรถ
|
เวียงตาล
|
|
แม่ตานน้อย
|
1201
|
มต.
|
671.808 กม.
|
3
|
|
- เข้าอุโมงค์ขุนตาน ยาว 1352.10 เมตร กม.ที่ 681.57-682.93"
|
ขุนตาน
|
1204
|
ขน.
|
683.140 กม.
|
3
|
ทาปลาดุก
|
แม่ทา
|
ลำพูน
|
|
ทาชมภู
|
1206
|
าช.
|
691.896 กม.
|
3
|
|
ศาลาแม่ทา
|
1208
|
ลท.
|
700.686 กม.
|
3
|
ทาสบเส้า
|
|
หนองหล่ม
|
1212
|
งล.
|
713.018 กม.
|
4
|
ศรีบัวบาน
|
เมืองลำพูน
|
|
ลำพูน
|
1216
|
ลพ.
|
729.213 กม.
|
2
|
ในเมือง
|
|
ป่าเส้า
|
1218
|
ปส.
|
734.645 กม.
|
4
|
อุโมงค์
|
|
สารภี
|
1220
|
ภี.
|
742.789 กม.
|
3
|
ยางเนิ้ง
|
สารภี
|
เชียงใหม่
|
|
เชียงใหม่
|
1222
|
ชม.
|
751.424 กม.
|
1
|
วัดเกต
|
เมืองเชียงใหม่
|
สถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือ
|