สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเลมียด หงสประภาส[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายมนตรี พงษ์พานิช และนายบุญพันธ์ แขวัฒนะ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกรุงเก่า, อำเภอบางบาล, อำเภอผักไห่, อำเภอเสนา และอำเภอราชคราม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอนครหลวง, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช และอำเภอบางปะหัน |
|
2 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2481 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกรุงเก่า, อำเภอผักไห่, อำเภอเสนา และอำเภอราชคราม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอนครหลวง, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช และอำเภอบางปะหัน |
|
พ.ศ. 2489 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกรุงเก่า, อำเภอบางบาล, อำเภอผักไห่, อำเภอเสนา และอำเภอบางไทร · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอนครหลวง, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช และอำเภอบางปะหัน |
|
พ.ศ. 2491 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495
|
พ.ศ. 2500/1 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512 |
4 คน (เขตละ 4 คน)
|
พ.ศ. 2518 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอวังน้อย, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอภาชี และอำเภออุทัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางปะหัน, อำเภอบางบาล, อำเภอลาดบัวหลวง และอำเภอผักไห่ |
|
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2519
|
พ.ศ. 2522
|
พ.ศ. 2526
|
พ.ศ. 2529
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอวังน้อย, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอภาชี, อำเภออุทัย และอำเภอบางปะหัน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางบาล, อำเภอลาดบัวหลวง และอำเภอผักไห่ |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2539
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยาและอำเภอบางปะหัน (เฉพาะตำบลขยาย ตำบลขวัญเมือง ตำบลโพธิ์สามต้น ตำบลพุทเลา และตำบลบ้านลี่) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าเรือ, อำเภอนครหลวง, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก และอำเภอบางปะหัน (ยกเว้นตำบลขยาย ตำบลขวัญเมือง ตำบลโพธิ์สามต้น ตำบลพุทเลา และตำบลบ้านลี่)) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย, อำเภอภาชี และอำเภอบางปะอิน (เฉพาะตำบลบ้านสร้าง ตำบลสามเรือน ตำบลตลิ่งชัน ตำบลคลองจิก และตำบลเชียงรากน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางไทร, อำเภอลาดบัวหลวง, อำเภอบางปะอิน (ยกเว้นตำบลบ้านสร้าง ตำบลสามเรือน ตำบลตลิ่งชัน ตำบลคลองจิก และตำบลเชียงรากน้อย) และอำเภอเสนา (เฉพาะตำบลชายนา ตำบลมารวิชัย ตำบลสามตุ่ม ตำบลดอนทอง และตำบลบ้านหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางบาล, อำเภอผักไห่, อำเภอบางซ้าย และอำเภอเสนา (ยกเว้นตำบลชายนา ตำบลมารวิชัย ตำบลสามตุ่ม ตำบลดอนทอง และตำบลบ้านหลวง) |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา, อำเภอท่าเรือ, อำเภอมหาราช, อำเภอบ้านแพรก, อำเภอนครหลวง, อำเภอบางปะหัน, อำเภอบางซ้าย, อำเภอเสนา, อำเภอบางบาล และอำเภอผักไห่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภาชี, อำเภออุทัย, อำเภอบางไทร, อำเภอบางปะอิน, อำเภอวังน้อย และอำเภอลาดบัวหลวง |
|
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยา · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าเรือ, อำเภอบางปะหัน, อำเภอนครหลวง, อำเภอมหาราช และอำเภอบ้านแพรก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังน้อย, อำเภออุทัย และอำเภอภาชี · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางไทร และอำเภอลาดบัวหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเสนา, อำเภอผักไห่, อำเภอบางบาล และอำเภอบางซ้าย |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยาและอำเภออุทัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าเรือ, อำเภอภาชี, อำเภอบางปะหัน, อำเภอนครหลวง, อำเภอมหาราช และอำเภอบ้านแพรก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางปะอิน, อำเภอบางไทร และ อำเภอวังน้อย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลาดบัวหลวง, อำเภอเสนา, อำเภอผักไห่, อำเภอบางบาล และอำเภอบางซ้าย |
|
4 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครศรีอยุธยาและอำเภอบางบาล · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านแพรก, อำเภอมหาราช, อำเภอบางปะหัน, อำเภอนครหลวง และอำเภอท่าเรือ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอภาชี, อำเภออุทัย และอำเภอวังน้อย · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางปะอินและอำเภอบางไทร · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอลาดบัวหลวง, อำเภอเสนา, อำเภอบางซ้าย และอำเภอผักไห่ |
|
5 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
- พรรคสหชีพ
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสันติชน
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคเสรีนิยม
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554-2566
- พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคภูมิใจไทย
- พรรคก้าวไกล → พรรคประชาชน
รูปภาพ
-
นายฟื้น สุพรรณสาร
-
นายวิโรจน์ กมลพันธ์
-
พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
-
นายปรีดี พนมยงค์
-
หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ
-
นายประมวล สภาวสุ
-
นายมนตรี พงษ์พานิช
-
พันเอก ณรงค์ กิตติขจร
-
นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร
-
นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|
|