สถานีหลักสี่ (อังกฤษ: Lak Si station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าตั้งอยู่ในบริเวณทางแยกหลักสี่ (จุดตัดระหว่างถนนแจ้งวัฒนะกับถนนวิภาวดีรังสิต) ในพื้นที่เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู
สถานีรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม สถานีหลักสี่
สถานีหลักสี่ (รหัส: RN06) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา ยกระดับเหนือถนนกำแพงเพชร 6 ในพื้นที่เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ที่ตั้ง
ถนนกำแพงเพชร 6 บริเวณด้านหน้าศูนย์การค้าไอทีสแควร์ หลักสี่ ในพื้นที่แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
รายละเอียด
รูปแบบ
เป็นแบบชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน ยาว 230 เมตร ระดับชานชาลาสูงจากพื้นดิน 18 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชั้นชานชาลา และออกแบบให้มีรางหลีกสำหรับรถไฟทางไกลที่ไม่จอดที่สถานี
ทางเข้า–ออก
ประกอบด้วยทางขึ้น–ลงปกติ ได้แก่
- 1, 3 ถนนแจ้งวัฒนะ, ไอทีสแควร์ หลักสี่, เอ็นที สำนักงานใหญ่
- 2, 4 วัดหลักสี่, โรงเรียนวัดหลักสี่, คอนโดมิเนียมพาร์ควิว หลักสี่
- 5, 6 ถนนวิภาวดีรังสิตขาออก (มุ่งหน้าท่าอากาศยานดอนเมือง)
- 7 สถานีหลักสี่, โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ (สะพานเชื่อม)
- 8 ซอยแจ้งวัฒนะ 6, โชว์รูมเอ็มจี หลักสี่
แผนผัง
U3 ชานชาลา
|
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
|
ชานชาลา 1
|
สายสีแดงเข้ม มุ่งหน้า รังสิต
|
|
ราง สายเหนือ, สายตะวันออกเฉียงเหนือ
|
ชานชาลา 2
|
สายสีแดงเข้ม มุ่งหน้า กรุงเทพอภิวัฒน์
|
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
|
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร
|
ชั้นขายบัตรโดยสาร
|
ทางออก 1–8, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า ทางเดินเชื่อมศูนย์การค้าไอทีสแควร์ และ หลักสี่
|
G ระดับถนน
|
–
|
ป้ายรถประจำทาง, ศูนย์การค้าไอทีสแควร์, วัดหลักสี่, เอ็นที สำนักงานใหญ่
|
เวลาให้บริการ
ปลายทาง |
วัน |
ขบวนแรก |
ขบวนสุดท้าย
|
สายสีแดงเข้ม[1]
|
ชานชาลาที่ 1
|
RN10 |
รังสิต |
ทุกวัน |
05.12 |
00.12
|
ชานชาลาที่ 2
|
RN01 |
กรุงเทพอภิวัฒน์ |
ทุกวัน |
05.11 |
00.11
|
สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู สถานีหลักสี่
สถานีหลักสี่ (รหัส: PK14) เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานครแบบยกระดับในเส้นทางสายสีชมพู โดยยกระดับเหนือถนนแจ้งวัฒนะในพื้นที่เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
ที่ตั้ง
ถนนแจ้งวัฒนะ บริเวณปากซอยแจ้งวัฒนะ 8 ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของทางแยกหลักสี่ ในพื้นที่แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
รายละเอียด
สีสัญลักษณ์
ใช้สีชมพูตกแต่งสถานีเพื่อสื่อให้เห็นว่าเป็นสถานีของโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู
รูปแบบ
เป็นสถานียกระดับ มีชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชั้นชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง
-
ชั้นขายบัตรโดยสาร
-
ชานชาลาสถานี
-
ป้ายชานชาลา 1
ทางเข้า–ออก
- 1 หมวดทางหลวงหลักสี่, สถานีหลักสี่
- 2 ซอยแจ้งวัฒนะ 8
แผนผัง
เวลาให้บริการ
ปลายทาง |
เชื่อมต่อ |
ขบวนแรก |
ขบวนสุดท้าย
|
สายสีชมพู[2][3]
|
ชานชาลาที่ 1
|
PK30
|
มีนบุรี |
เต็มระยะ |
05.30 |
00.31
|
|
PK16 สายสุขุมวิท (คูคต) |
– |
00.21
|
|
PK16 สายสุขุมวิท (เคหะฯ) |
– |
23.11
|
ชานชาลาที่ 2
|
PK01
|
ศูนย์ราชการนนทบุรี |
เต็มระยะ |
05.46 |
00.36
|
|
PK01 สายสีม่วง (คลองบางไผ่) |
– |
23.06
|
|
PK01 สายสีม่วง (เตาปูน) |
– |
22.36
|
สถานที่ใกล้เคียง
อ้างอิง
|
---|
สายเหนือ (RN) | ม.ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต–บ้านภาชี (โครงการ) | |
---|
รังสิต–ม.ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต (โครงการ) | |
---|
บางซื่อ–รังสิต (เปิดให้บริการ) | |
---|
|
---|
สายใต้ (RS) | บางซื่อ–หัวลำโพง (มิสซิงลิงก์) (โครงการ) | |
---|
หัวลำโพง–มหาชัย (โครงการ) | |
---|
มหาชัย–ปากท่อ (แผนแม่บท) | |
---|
|
---|
|
---|
เส้นทางหลัก | |
---|
เส้นทางแยก (กำลังก่อสร้าง) | |
---|
สถานีและทางรถไฟทางไกลที่ยกเลิกการใช้งานของประเทศไทย |
---|
สถานีรถไฟ | |
---|
ทางรถไฟ | การรถไฟแห่งประเทศไทย | |
---|
ทางรถไฟหลวง | |
---|
ทางรถไฟราษฎร์ | |
---|
อื่น ๆ | |
---|
|
---|
|
---|
แขวง | | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
สาธารณสุข | |
---|
คุณภาพชีวิต | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
ราชการ | |
---|
กีฬา | |
---|
|
---|
|