วิศาขาปัฏฏนัม
สมญา: เมืองแห่งพรหมลิขิต อัญมณีแห่งชายฝั่งตะวันออก
พิกัด: 17°42′15″N 83°17′52″E / 17.70417°N 83.29778°E / 17.70417; 83.29778 ประเทศ อินเดีย รัฐ อานธรประเทศ อำเภอ วิศาขาปัฏฏนัม รวมตัว (เมือง) ค.ศ. 1865 รวมตัว (นคร) ค.ศ. 1979 การปกครอง • ประเภท องค์การเทศบาล • องค์กร GVMC , VMRDA • นายกเทศมนตรี Golagani Hari Venkata Kumari[ 1] (YSRCP ) พื้นที่[ 2] [ 3] [ 4] [ 5] [ 6] • มหานคร 681.96 ตร.กม. (263.31 ตร.ไมล์) • รวมปริมณฑล[ 7] [ 8] 7,328.86 ตร.กม. (2,829.69 ตร.ไมล์) ประชากร • มหานคร 1,728,128 คน • อันดับ อันดับที่ 17 • ความหนาแน่น 2,500 คน/ตร.กม. (6,600 คน/ตร.ไมล์) • รวมปริมณฑล [ 10] 53,40,000 คน เขตเวลา UTC+5:30 (เวลามาตรฐานอินเดีย )PIN 530 0XX, 531 1XX [ 11] รหัสโทรศัพท์ +91-891 ป้ายทะเบียนยานพาหนะ AP-31, AP-32, AP-33, AP-34 , AP-39 ภาษาทางการ เตลูกู เว็บไซต์
วิศาขาปัฏฏนัม (ฮินดี : विशाखापट्टनम, विशाखपट्नम ; เตลูกู : విశాఖపట్నం ) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทั้งทางด้านพื้นที่และจำนวนประชากรของรัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย เมืองตั้งอยู่ห่างจากอมราวตี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือราว 363 กม. (226 ไมล์) และห่าง 587 กม. (365 ไมล์) จากไฮเดอราบาด เมืองหลวงของรัฐอานธรประเทศและรัฐเตลังคานา เป็นศูนย์กลางการบริหารของเขตวิศาขาปัฏฏนัม และเป็นเมืองหลวงทางเศรษฐกิจของรัฐอานธรประเทศ[ 14] จากข้อมูลประชากรปี ค.ศ. 2011 เมืองมีประชากร 1,897,823 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 15 ของอินเดีย
อันดับเศรษฐกิจของเมืองมากเป็นอันดับ 10 ของประเทศ ด้วยผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 26,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[ 15] [ 16] วิศาขาปัฏฏนัมยังเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจของรัฐและมีเศรษฐกิจหลากหลายเช่น อุตสาหกรรมหนัก การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมแร่ ตกปลา เทคโนโลยีข้อมูล ส่วนท่าเรือ
เมืองวิศาขาปัฏฏนัมยังเป็นท่าเรือที่คับคั่งที่สุดในอินเดียนับจากสินค้าบรรทุก[ 17] เมืองยังเป็นที่ตั้งการทัพเรือฝั่งตะวันออกของกองทัพเรืออินเดียและยังเป็นอู่ต่อเรือที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นท่าเรือทางธรรมชาติเพียงแห่งเดียวบนชายฝั่งทิศตะวันออกของประเทศอินเดีย[ 18]
ประวัติศาสตร์ของเมืองวิศาขาปัฏฏนัมย้อนไปได้ถึง 6 ศตวรรษก่อนคริสตกาล โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคกลิงคะ (Kalinga)[ 19] [ 20] และต่อมาปกครองโดยอาณาจักรเวงคี ราชวงศ์ปัลลวะ และราชวงศ์คงคาตะวันออก (Eastern Ganga)[ 21] จากข้อมูลทางโบราณคดีเมืองในปัจจุบันสร้างราวศตวรรษที่ 11 และ 12 จากการปกครองระหว่างราชวงศ์โจฬะ กับราชวงศ์คชปติ (Gajapati Kingdom)[ 19] [ 20] จนกระทั่งจักรวรรดิวิชัยนคร ขึ้นมามีอำนาจในศตวรรษที่ 15 จากนั้นในศตวรรษที่ 16 ปกครองโดยจักรวรรดิโมกุล จนชาวยุโรปเริ่มมีผลประโยชน์การค้าในเมือง และปลายศตวรรษที่ 18 ตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส[ 19] [ 20] จากนั้นภายใต้การปกครองของอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1804 และเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษจนอินเดียประกาศอิสรภาพในปี ค.ศ. 1947 ภายหลังประกาศอิสรภาพเมืองพัฒนาเป็นเมืองท่าที่สำคัญและเป็นสถานที่ตั้งของการทัพเรือฝั่งตะวันออกของกองทัพเรืออินเดีย[ 19] [ 20]
เมืองตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันออกกับอ่าวเบงกอล [ 22] [ 23] เป็นที่รู้จักว่าเป็นอัญมณีแห่งชายฝั่งตะวันออก
ภูมิศาสตร์
Kondakarla Ava เขตรักษาพันธุ์นกใกล้วิศาขาปัฏฏนัม
นครนี้ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันออก กับอ่าวเบงกอล [ 22] นครนี้ตั้งอยู่ในพิกัดภูมิศาสตร์ที่ 17.7041 N กับ 83.2977 E[ 12] [ 13]
ภูมิอากาศ
ข้อมูลภูมิอากาศของท่าอากาศยานวิศาขาปัฏฏนัม (ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด ค.ศ. 1901–2010)
เดือน
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F)
34.8 (94.6)
38.4 (101.1)
40.0 (104)
40.5 (104.9)
45.0 (113)
45.4 (113.7)
41.4 (106.5)
38.8 (101.8)
38.2 (100.8)
37.2 (99)
35.0 (95)
34.0 (93.2)
45.4 (113.7)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F)
29.5 (85.1)
31.6 (88.9)
34.2 (93.6)
35.4 (95.7)
36.3 (97.3)
35.4 (95.7)
33.4 (92.1)
33.0 (91.4)
33.0 (91.4)
32.3 (90.1)
30.9 (87.6)
29.5 (85.1)
32.9 (91.2)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F)
23.8 (74.8)
25.9 (78.6)
28.8 (83.8)
30.7 (87.3)
31.9 (89.4)
31.5 (88.7)
29.8 (85.6)
29.6 (85.3)
29.4 (84.9)
28.5 (83.3)
26.3 (79.3)
23.9 (75)
28.3 (82.9)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F)
18.4 (65.1)
20.5 (68.9)
23.7 (74.7)
26.3 (79.3)
27.8 (82)
27.8 (82)
26.7 (80.1)
26.3 (79.3)
26.1 (79)
24.9 (76.8)
22.0 (71.6)
18.8 (65.8)
24.1 (75.4)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F)
10.5 (50.9)
12.8 (55)
14.4 (57.9)
18.3 (64.9)
20.0 (68)
21.1 (70)
21.3 (70.3)
21.1 (70)
17.5 (63.5)
17.6 (63.7)
12.9 (55.2)
11.3 (52.3)
10.5 (50.9)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว)
10.5 (0.413)
12.1 (0.476)
11.4 (0.449)
21.8 (0.858)
63.0 (2.48)
117.6 (4.63)
130.4 (5.134)
157.8 (6.213)
202.1 (7.957)
209.3 (8.24)
87.9 (3.461)
7.9 (0.311)
1,031.7 (40.618)
ความชื้น ร้อยละ
63
62
63
67
68
67
71
73
76
73
66
63
68
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย
0.9
0.9
0.6
1.5
3.4
6.4
8.8
8.4
9.8
8.1
3.4
0.9
53.0
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด
272.8
271.2
272.8
264.0
251.1
135.0
130.2
133.3
168.0
229.4
228.0
269.7
2,625.5
แหล่งที่มา 1: India Meteorological Department (ดวงอาทิตย์ ค.ศ. 1971–2000)[ 24] [ 25] [ 26]
แหล่งที่มา 2: Tokyo Climate Center (อุณหภูมิเฉลี่ย ค.ศ. 1981–2010)[ 27]
ข้อมูลภูมิอากาศของวิศาขาปัฏฏนัม (Dolphin's Nose ; ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด ค.ศ. 1970–2005)
เดือน
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F)
30.7 (87.3)
35.0 (95)
36.2 (97.2)
36.1 (97)
42.8 (109)
39.8 (103.6)
39.8 (103.6)
36.2 (97.2)
36.6 (97.9)
34.5 (94.1)
32.4 (90.3)
31.4 (88.5)
42.8 (109)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F)
27.2 (81)
26.9 (80.4)
30.6 (87.1)
31.5 (88.7)
32.6 (90.7)
32.2 (90)
30.6 (87.1)
30.5 (86.9)
30.6 (87.1)
30.2 (86.4)
28.8 (83.8)
27.4 (81.3)
30.1 (86.2)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F)
19.8 (67.6)
21.4 (70.5)
23.5 (74.3)
25.0 (77)
26.1 (79)
26.0 (78.8)
25.0 (77)
24.8 (76.6)
24.8 (76.6)
23.8 (74.8)
21.8 (71.2)
19.8 (67.6)
23.5 (74.3)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F)
15.6 (60.1)
17.7 (63.9)
17.4 (63.3)
17.9 (64.2)
18.5 (65.3)
18.4 (65.1)
18.4 (65.1)
19.6 (67.3)
18.8 (65.8)
19.4 (66.9)
16.3 (61.3)
14.1 (57.4)
14.1 (57.4)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว)
14.3 (0.563)
28.9 (1.138)
14.6 (0.575)
25.0 (0.984)
66.0 (2.598)
107.5 (4.232)
131.8 (5.189)
132.6 (5.22)
161.6 (6.362)
270.4 (10.646)
105.1 (4.138)
3.5 (0.138)
1,061.2 (41.78)
ความชื้น ร้อยละ
78
76
75
78
77
79
83
83
82
79
73
72
76
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย
1.0
1.1
0.4
1.4
3.4
5.4
7.8
7.4
8.5
8.3
4.0
0.7
49.3
แหล่งที่มา: India Meteorological Department [ 24] [ 25]
หมายเหตุ
↑ Greater Visakhapatnam Municipal Corporation
↑ Visakhapatnam Metropolitan Region Development Authority
อ้างอิง
↑ "Vizag mayor: Golagani Hari Venkata Kumari of YSRCP elected mayor of Visakhapatnam | Visakhapatnam News - Times of India" . The Times of India .
↑ "Vizag metro gets in-principle nod | Visakhapatnam News - Times of India" . The Times of India .
↑ "Vizag tops the list of most populated districts in AP | Visakhapatnam News - Yo Vizag" . Yo Vizag .
↑ "Clean Visakha Green Visakha: Abstract" . 2018: 168–172.
↑ "Now, GVMC area to be reorganised into 98 wards | Visakhapatnam News - Times of India" . The Times of India .
↑ "Stakes high for 1st GVMC polls following merger of Bheemili&Anakapalli | Visakhapatnam News - Times of India" . The Times of India .
↑ "Vizag to expand: 13 mandals added to VMRDA, beach corridor and airport prioritised | The News Minute" . The News Minute .
↑ "VMRDA area now 7.3k sq km after addition of 13 mandals | Visakhapatnam News - Times of India" . The Times of India .
↑ "INDIA STATS : Million plus cities in India as per Census 2011" . Press Information Bureau, Mumbai . National Informatics Centre (NIC). สืบค้นเมื่อ 7 February 2012 .
↑ "Key Facts on VMR" (PDF) . Visakhapatnam Urban Development Authority . pp. 44–45. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 21 December 2015 .
↑ Pincode List
↑ 12.0 12.1 "Maps, Weather, and Airports for Vishakhapatnam, India" . www.fallingrain.com . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2017. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017 .
↑ 13.0 13.1 Seta, Fumihiko; Biswas, Arindam; Khare, Ajay; Sen, Joy (2016). Understanding Built Environment: Proceedings of the National Conference on Sustainable Built Environment 2015 (ภาษาอังกฤษ). Springer. p. 98. ISBN 9789811021381 . สืบค้นเมื่อ 11 July 2017 .
↑ "Administration-AP-Financial Capital" . Visakhapatnam. 29 April 2015. สืบค้นเมื่อ 13 August 2015 .
↑ "India's top 15 cities with the highest GDP" . Yahoo Finance . 28 September 2012. สืบค้นเมื่อ 4 September 2015 .
↑ Nicole Bippen (17 February 2014). "The 10 Richest Indian Cities" . The Richest . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2014-06-21. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014 .
↑ "Competition shakes up Visakhapatnam port" . HT Mint . 11 February 2010. สืบค้นเมื่อ 22 November 2012 .
↑ Gopalakrishnan, Hema (7 November 2012). "A career in Vizag" . The Hindu . สืบค้นเมื่อ 18 May 2015 .
↑ 19.0 19.1 19.2 19.3 "Maps of India - Visakhapatnam History" . Maps of India. สืบค้นเมื่อ 9 May 2015 .
↑ 20.0 20.1 20.2 20.3 "History Of Visakhapatnam" . I Love India. สืบค้นเมื่อ 9 May 2015 .
↑ "Visakhapatnam District" . Visakhapatnam District. สืบค้นเมื่อ 9 May 2015 .
↑ 22.0 22.1 "In pics: Hudhud takes the green sheen off Vizag" . Hindustan Times . 21 October 2014. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2017. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017 .
↑ "About District | Visakhapatnam District, Government of Andhra Pradesh | India" . สืบค้นเมื่อ 2020-04-16 .
↑ 24.0 24.1
"Climatological Normals 1981–2010" (PDF) . India Meteorological Department. January 2015. pp. 794–798. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 17 February 2020 .
↑ 25.0 25.1
"Extremes of Temperature & Rainfall for Indian Stations (Up to 2012)" (PDF) . India Meteorological Department. December 2016. p. M20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 17 February 2020 .
↑ "Table 3 Monthly mean duration of Sun Shine (hours) at different locations in India" (PDF) . Daily Normals of Global & Diffuse Radiation (1971–2000) . India Meteorological Department. December 2016. p. M-3. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-05. สืบค้นเมื่อ 10 February 2020 .
↑
"Normals Data: Visakhapatnam - India Latitude: 17.72°N Longitude: 83.30°E Height: 3 (m)" . Japan Meteorological Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 29 February 2020. สืบค้นเมื่อ 29 February 2020 .
อ่านเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
เมืองที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย
สำมะโนครัว ค.ศ. 2011 ประเทศอินเดีย
[ 1]
อันดับ
ชื่อ
รัฐ/ดินแดนสหภาพ
ประชากร
อันดับ
ชื่อ
รัฐ/ดินแดนสหภาพ
ประชากร
มุมไบ เดลี
1
มุมไบ
มหาราษฏระ
12,478,447
11
กานปุระ
อุตตรประเทศ
2,920,067
เบงคลูรู ไฮเดอราบาด
2
เดลี
เดลี
11,007,835
12
ลัคเนา
อุตตรประเทศ
2,901,474
3
เบงคลูรู
กรณาฏกะ
8,425,970
13
นาคปุระ
มหาราษฏระ
2,405,421
4
ไฮเดอราบาด
เตลังคนา
6,809,970
14
อินเทาร์
มัธยประเทศ
1,960 521
5
อะห์มดาบาด
คุชราต
5,570,585
15
ฐาเณ
มหาราษฏระ
1,818,872
6
เจนไน
ทมิฬนาฑู
4,681,087
16
โภปาล
มัธยประเทศ
1,795,648
7
โกลกาตา
เบงกอลตะวันตก
4,486,679
17
วิศาขาปัฏฏนัม
อานธรประเทศ
1,730,320
8
สุรัต
คุชราต
4,462,002
18
ปิงปรี-จิงจวัฑ
มหาราษฏระ
1,729,359
9
ปุเณ
มหาราษฏระ
3,115,431
19
ปัฏนา
พิหาร
1,683,200
10
ชัยปุระ
ราชสถาน
3,073,350
20
ลุธิอาณา
ปัญจาบ
1,613,878
นานาชาติ ประจำชาติ ภูมิศาสตร์
↑ "Cities having population 1 lakh and above" (PDF) . India Census 2011. 31 January 2012.