Share to: share facebook share twitter share wa share telegram print page

 

ซาราเยโว

ซาราเยโว

Сарајево
Grad Sarajevo
Град Сарајево
เมืองซาราเยโว
ธงของซาราเยโว
ธง
ตราราชการของซาราเยโว
ตราอาร์ม
สมญา: 
"เยรูซาเลมแห่งยุโรป",[1] "เยรูซาเลมแห่งบอลข่าน",[2] "Šeher, Rajvosa"[3]
ซาราเยโวตั้งอยู่ในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ซาราเยโว
ซาราเยโว
ที่ตั้งในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ซาราเยโวตั้งอยู่ในบอลข่าน
ซาราเยโว
ซาราเยโว
ที่ตั้งในยุโรป
ซาราเยโวตั้งอยู่ในยุโรป
ซาราเยโว
ซาราเยโว
ซาราเยโว (ยุโรป)
พิกัด: 43°52′N 18°25′E / 43.867°N 18.417°E / 43.867; 18.417
ประเทศธงของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ส่วนสหภาพบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
แคนทอนซาราเยโว
เทศบาล:
4
ก่อตั้งค.ศ. 1461
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีBenjamina Karić[4] (SDP BiH)
พื้นที่
 • City proper141.5 ตร.กม. (54.6 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง419.16 ตร.กม. (161.84 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล3,350 ตร.กม. (1,290 ตร.ไมล์)
ความสูง550 เมตร (1,800 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน ค.ศ. 2013)[5]
 • City proper275,524 คน
 • ความหนาแน่น1,900 คน/ตร.กม. (5,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง419,957 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง1,000 คน/ตร.กม. (2,600 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล555,210 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล170 คน/ตร.กม. (430 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสไปรษณีย์71000
รหัสพื้นที่+387 33
เว็บไซต์sarajevo.ba

ซาราเยโว (บอสเนีย: Sarajevo, ซีริลลิก: Сарајево, ออกเสียง: [sǎrajeʋo] ) เป็นเมืองหลวง[6] และเมืองใหญ่สุดของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ด้วยประชากร 275,569 คนในเขตปกครองของซาราเยโว[7][5] พื้นที่ของเขตมหานครซาราเยโวครอบคลุมรัฐซาราเยโว, ซาราเยโวตะวันออก และเทศบาลรอบ ๆ ทั้งเขตมหานครมีประชากรรวม 555,210 คน ซาราเยโวมีแม่น้ำมิลยัตสกาเป็นแม่น้ำสายหลัก

ซาราเยโวเป็นศูนย์กลางทางการเมือง การเงิน สังคม และวัฒนธรรมของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รวมถึงเป็นศูนย์กลางสำคัญหนึ่งของภูมิภาคบอลข่าน[8][9] ซาราเยโวมีประวัติศาสตร์ของความหลากหลายทางศาสนาที่เก่าแก่ยาวนาน จึงได้รับฉายาว่าเป็น "เยรูซาเลมยุโรป"[1] หรือ "เยรูซาเลมบอลข่าน"[2] ซาราเยโวเป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองหลักของยุโรปที่มีทั้งมัสยิด โบสถ์คาทอลิก โบสถ์ออร์ทอดอกซ์ และโบสถ์ยิวตั้งอยู่ด้วยกันในย่านเดียวกัน[10] ซาราเยโวยังเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาหนึ่งของภูมิภาคบอลข่าน เป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาระดับอุมศึกษาแห่งแรกของภูมิภาค (หากไม่รวมตุรกีและกรีซ) คือวิทยาลัยอิสลามโบราณหรือมัดเราะซะฮ์ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยซาราเยโว[11]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Stilinović, Josip (3 January 2002). "In Europe's Jerusalem", Catholic World News. The city's principal mosques are the Gazi Husrev-Bey's Mosque, or Begova Džamija (1530), and the Mosque of Ali Pasha (1560–61). Retrieved on 5 August 2006.
  2. 2.0 2.1 Benbassa, Esther; Attias, Jean-Christophe (2004). The Jews and their Future: A Conversation on Judaism and Jewish Identities. London: Zed Books. p. 27. ISBN 978-1-84277-391-8. Sarajevo.
  3. "Visit Sarajevo: A Brief History of the City". Visit Sarajevo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2011. สืบค้นเมื่อ 28 March 2012.
  4. R.D. (8 April 2021). "Benjamina Karić je zvanično nova gradonačelnica Sarajeva" (ภาษาบอสเนีย). Klix.ba. สืบค้นเมื่อ 8 April 2021.
  5. 5.0 5.1 "Census of Population, Households and Dwellings in Bosnia and Herzegovina: Final Results" (PDF). Agencija za statistiku Bosne i Hercegovine. 2013. สืบค้นเมื่อ 28 July 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. "THE WORLD FACTBOOK". 2015-09-06. สืบค้นเมื่อ 2018-08-14.
  7. Toe, Rodolfo (1 July 2016). "Census Results Highlight Impact of Bosnian War". Balkan Transitional Justice. Balkan Investigative Reporting Network. สืบค้นเมื่อ 14 October 2017.
  8. "Sarajevo: The economic, administrative, cultural and educational center of Bosnia and Herzegovina". Mediterranea News. 12 May 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 April 2012. สืบค้นเมื่อ 5 April 2012.
  9. daenet d.o.o. "Sarajevo Official Web Site : Economy". Sarajevo.ba. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-01. สืบค้นเมื่อ 5 April 2012.
  10. Malcolm, Noel (1996). Bosnia: A Short History [Paperback]. London: NYU Press. pp. 107, 364. ISBN 978-0-8147-5561-7.
  11. Agency, Anadolu. "Saraybosna'da 476 yıldır yaşayan medrese! (Sarajevo Celebrates 476 Years of its Medresa!)". Haber7. สืบค้นเมื่อ 11 November 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya


Index: pl ar de en es fr it arz nl ja pt ceb sv uk vi war zh ru af ast az bg zh-min-nan bn be ca cs cy da et el eo eu fa gl ko hi hr id he ka la lv lt hu mk ms min no nn ce uz kk ro simple sk sl sr sh fi ta tt th tg azb tr ur zh-yue hy my ace als am an hyw ban bjn map-bms ba be-tarask bcl bpy bar bs br cv nv eml hif fo fy ga gd gu hak ha hsb io ig ilo ia ie os is jv kn ht ku ckb ky mrj lb lij li lmo mai mg ml zh-classical mr xmf mzn cdo mn nap new ne frr oc mhr or as pa pnb ps pms nds crh qu sa sah sco sq scn si sd szl su sw tl shn te bug vec vo wa wuu yi yo diq bat-smg zu lad kbd ang smn ab roa-rup frp arc gn av ay bh bi bo bxr cbk-zam co za dag ary se pdc dv dsb myv ext fur gv gag inh ki glk gan guw xal haw rw kbp pam csb kw km kv koi kg gom ks gcr lo lbe ltg lez nia ln jbo lg mt mi tw mwl mdf mnw nqo fj nah na nds-nl nrm nov om pi pag pap pfl pcd krc kaa ksh rm rue sm sat sc trv stq nso sn cu so srn kab roa-tara tet tpi to chr tum tk tyv udm ug vep fiu-vro vls wo xh zea ty ak bm ch ny ee ff got iu ik kl mad cr pih ami pwn pnt dz rmy rn sg st tn ss ti din chy ts kcg ve 
Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9