Share to: share facebook share twitter share wa share telegram print page

 

กองทัพสาธารณรัฐจีน

กองทัพสาธารณรัฐจีน
中華民國國軍
ตราประจำกระทรวงกลาโหมแห่งสาธารณรัฐจีน
ก่อตั้ง16 มิถุนายน ค.ศ. 1924
รูปแบบปัจจุบัน25 ธันวาคม ค.ศ. 1947
เหล่า กองทัพบกสาธารณรัฐจีน
 เหล่านาวิกโยธินสาธารณรัฐจีน
ธงกองทัพเรือของสาธารณรัฐจีน กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน
ธงของกองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน
กองทหารสารวัตร
กองบัญชาการส่งกำลังบำรุงร่วม
กองบัญชาการสาธารณรัฐจีน ไทเป, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารประธานาธิบดี ไล่ ชิงเต๋อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมพลเอก เยียน เต๋อ-ฟา
เสนาธิการพลเรือเอก หวง ชู-กวง
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ19 - 40 ปี
การเกณฑ์ราชการทหารภาคบังคับ 1 ปี สำหรับพลเมืองชายอายุระหว่าง 19 ถึง 40 ปี
ประชากร
วัยบรรจุ
5,883,828, อายุ 18-40 (2548)
ประชากร
ฉกรรจ์
4,749,537, อายุ 18-40 (2548)
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
174,173 (2548)
ยอดประจำการ300,000 (2024)[1]
ยอดสำรอง2,310,000 (2024)[2]
รายจ่าย
งบประมาณ$10,500 ล้าน (2551) (อันดับที่ 20)
ร้อยละต่อจีดีพี2.5 (2551)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศAerospace Industrial Development Corporation, Chungshan Institute of Science and Technology, CSBC Corporation, 205th Armory
แหล่งผลิตนอกประเทศ สหรัฐ
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์[3]
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ธงของประเทศสเปน สเปน
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
 เกาหลีใต้
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกองทัพเป่ย์หยาง
กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน
ยศยศทหาร
เครื่องอิสริยาภรณ์

กองทัพสาธารณรัฐจีน ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ (รวมเหล่านาวิกโยธิน, กำลังทหารสารวัตรและกองทัพกำลังสำรองแห่งสาธารณรัฐจีน) เป็นสถาบันทหาร มีงบประมาณคิดเป็น 16.8% ของงบประมาณกลางในปีงบประมาณ 2546 เดิมเป็นกองทัพปฏิวัติแห่งชาติก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นกองทัพสาธารณรัฐจีนในปี 2490 เนื่องจากการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ

ก่อนคริสต์ทศวรรษ 1970 ภารกิจหลักของกองทัพ คือ การยึดจีนแผ่นดินใหญ่คืนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนที่เป็นคอมมิวนิสต์ผ่านโครงการความรุ่งโรจน์ของชาติ (Project National Glory)[4] แต่ภารกิจสำคัญที่สุดของกองทัพปัจจุบัน คือ การป้องกันเกาะไต้หวัน เผิงหู จินเหมินและหมาจู่จากการบุกครองทางทหารที่เป็นไปได้ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน ซึ่งถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามที่เด่นสุดของสาธารณรัฐจีน[5][6] ขณะที่ข้อพิพาทว่าด้วยสถานะทางการเมืองของไต้หวันยังดำเนินต่อไป

ประวัติ

ในอดีตเมื่อตั้งสาธารณรัฐจีนกองทัพนั้นค่อนข้างแตกกระจายมีขุนศึกมากมายและรัฐบาลสาธารณรัฐจีนควบคุมโดยรัฐบาลเป่ยหยางในปักกิ่งและมีสงครามระหว่างขุนศึกตลอดเวลาประธานาธิบดีเปลี่ยนแปลงบ่อยมีความขัดแย้งในกองทัพหลังหยวนซื่อไข่ตาย ประเทศจีนแบ่งเป็นแคว้นเป็นก๊ก ไม่ได้รวมกันเป็นหนึ่งเดียวเมื่อ ซุนยัดเซนและเจียงไคเชคเมื่อเห็นว่าตราบใดที่ยังไม่มีกองทัพของพรรคก๊กมินตั๋งเองจีงไม่อาจทำให้จีนรวมกันได้ ในตอนนั้น รัฐบาลรัสเซียนำโดยเลนินยอมรับพรรคก๊กมินตั๋งเป็นผู้ปกครองจีนโดยชอบธรรม เลนินเสนอให้อาวุธและการฝึกการเงินให้และความช่วยเหลือแต่ต้องแลกมาซึ่งให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนร่วม รัฐบาลกับพรรคก๊กมินตั๋งโรงเรียนทหารและการปกครองหวางผู่ ซึ่งนับเป็นผลิตผลแรกของความร่วมมือระหว่างซุนยัตเซ็นกับพรรคคอมมิวนิสต์จีน โรงเรียนทหารและการปกครองที่จัดตั้งขึ้น มีซุนยัตเซ็นเป็นผู้อำนวยการ และเจี่ยงจงเจิ้ง (蔣中正) หรือเจียงไคเช็ค เป็นครูใหญ่ ดร.ซุนได้วางจุดประสงค์ไว้ที่การ “สร้างกองกำลังปฏิวัติ เพื่อช่วยจีนให้พ้นวิกฤต” มีการจัดสอนการใช้อาวุธ สอนแนวความคิดลัทธิไตรราษฎร์ และแนวความคิดของลัทธิมาร์กซ์ โดยให้ความสำคัญทั้งหลักสูตรทางด้านการทหารและการปกครอง จนสามารถสร้างบุคลากรชั้นนำในประเทศในภายหลังได้เป็นจำนวนมาก โดยระหว่างปีค.ศ. 1924-1949 มีนักเรียนที่จบทั้งสิ้น 23 รุ่น เมื่อรวมนักเรียนที่จบออกมาจากโรงเรียน และสาขาแล้วมีมากถึง 230,000 คน

การจัดระเบียบเหล่าทัพ

กองกำลังของสาธารณรัฐจีนถูกจัดระเบียบดังนี้ดังนี้

  • กองทัพบกสาธารณรัฐจีน (ROCA, Republic of China Army)
  • กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน ( ROCAF , Republic of China Air Force)
  • กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน (ROCN, Republic of China Navy)
  • กองทหารสารวัตรสาธารณรัฐจีน (ROCMP, Republic of China Military Police)
  • กองบัญชาการส่งกำลังบำรุงร่วม (Republic of China Joint Logistics Command)
  • กองกำลังสำรองสาธารณรัฐจีน (Republic of China Armed Forces Reserve Command)

โครงสร้าง

บุคลากร

งบประมาณ

การศึกษา

ยุทธภัณฑ์

อาวุธประจำกาย

อาวุธประจำหน่วย

ศาลทหาร

ความสัมพันธ์ทางทหาร

ดูเพิ่ม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

เชิงอรรถ

  1. Dotson, John (February 8, 2023). "Taiwan's "Military Force Restructuring Plan" and the Extension of Conscripted Military Service". Global Taiwan Brief. Global Taiwan Institute.
  2. IISS 2023, p. 291.
  3. Look at Dutch-built Zwaardvis class submarine
  4. "Overview - Taiwan Military Agencies". globalsecurity.org. สืบค้นเมื่อ 2006-03-05.
  5. "2004 National Defense White Paper" (PDF). ROC Ministry of National Defense. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-09-01. สืบค้นเมื่อ 2006-03-05.
  6. "2004 National Defense Report" (PDF). ROC Ministry of National Defense. 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-03-11. สืบค้นเมื่อ 2006-03-05.

อ้างอิง

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya


Index: pl ar de en es fr it arz nl ja pt ceb sv uk vi war zh ru af ast az bg zh-min-nan bn be ca cs cy da et el eo eu fa gl ko hi hr id he ka la lv lt hu mk ms min no nn ce uz kk ro simple sk sl sr sh fi ta tt th tg azb tr ur zh-yue hy my ace als am an hyw ban bjn map-bms ba be-tarask bcl bpy bar bs br cv nv eml hif fo fy ga gd gu hak ha hsb io ig ilo ia ie os is jv kn ht ku ckb ky mrj lb lij li lmo mai mg ml zh-classical mr xmf mzn cdo mn nap new ne frr oc mhr or as pa pnb ps pms nds crh qu sa sah sco sq scn si sd szl su sw tl shn te bug vec vo wa wuu yi yo diq bat-smg zu lad kbd ang smn ab roa-rup frp arc gn av ay bh bi bo bxr cbk-zam co za dag ary se pdc dv dsb myv ext fur gv gag inh ki glk gan guw xal haw rw kbp pam csb kw km kv koi kg gom ks gcr lo lbe ltg lez nia ln jbo lg mt mi tw mwl mdf mnw nqo fj nah na nds-nl nrm nov om pi pag pap pfl pcd krc kaa ksh rm rue sm sat sc trv stq nso sn cu so srn kab roa-tara tet tpi to chr tum tk tyv udm ug vep fiu-vro vls wo xh zea ty ak bm ch ny ee ff got iu ik kl mad cr pih ami pwn pnt dz rmy rn sg st tn ss ti din chy ts kcg ve 
Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9