กองทัพบังกลาเทศ |
---|
বাংলাদেশ সশস্ত্র বাহিনী |
สัญลักษณ์กองทัพบังกลาเทศ |
ก่อตั้ง | 4 เมษายน พ.ศ. 2514 |
---|
เหล่า | กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ
|
---|
กองบัญชาการ | ธากา |
---|
ผู้บังคับบัญชา |
---|
ผู้บัญชาการทหาร | ชิลลูร์ ราห์มาน |
---|
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | เศขะ หาสินา |
---|
กำลังพล |
---|
อายุเริ่มบรรจุ | 19 |
---|
การเกณฑ์ | ไม่มี |
---|
ประชากร วัยบรรจุ | 36,520,491, อายุ 19–49 (2553) |
---|
ประชากร ฉกรรจ์ | 30,486,086 ชาย, อายุ 19–49 (2553), 35,616,093 หญิง, อายุ 19–49 (2553) |
---|
ประชากรวัยถึงขั้น ประจำการทุกปี | 1,606,963 ชาย (2553), 1,689,442 หญิง (2553) |
---|
ยอดประจำการ | 450,000 |
---|
ยอดกำลังนอกประเทศ | ในภารกิจของสหประชาชาติ – 10,855 (กันยายน 2553) |
---|
รายจ่าย |
---|
งบประมาณ | $2,300 ล้าน (2553) |
---|
ร้อยละต่อจีดีพี | 1.18% (2553) |
---|
อุตสาหกรรม |
---|
แหล่งผลิตในประเทศ | Bangladesh Machine Tools Factory Bangladesh Ordnance Factories |
---|
แหล่งผลิตนอกประเทศ | จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี รัสเซีย เกาหลีใต้ ตุรกี สหราชอาณาจักร สหรัฐ อินโดนีเซีย ไทย |
---|
บทความที่เกี่ยวข้อง |
---|
ประวัติ | สงครามปลดปล่อยบังกลาเทศ สงครามอ่าว |
---|
ยศ | ยศทหาร เครื่องอิสริยาภรณ์ |
---|
กองทัพบังกลาเทศ ประกอบไปด้วยสามเหล่าทัพคือ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ หน่วยพิทักษ์ชายแดนบังกลาเทศและหน่วยยามฝั่งบังกลาเทศที่เป็นกำลังกึ่งทหารอยู่ภายใต้เขตอำนาจของกระทรวงมหาดไทยในยามสงบ แต่ในยามสงคราม ทั้งสองหน่วยจะอยู่ใต้บังคับบัญชาของกองทัพบกและกองทัพเรือตามลำดับ
ประวัติ
โครงสร้าง
งบประมาณ
บุคลากร
กำลังพลประจำการ
กำลังพลสำรอง
เครื่องแบบ
การศึกษา
ยุทธภัณฑ์
อาวุธประจำกาย
อาวุธประจำหน่วย
ศาลทหาร
ความสัมพันธ์ทางทหาร
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
ลิงก์ไปยังบทความที่เกี่ยวข้อง |
---|
|